เรียนพิเศษ ติวสอบ ออนไลน์ กวดวิชาติวเตอร์อันดับ 1 | Megastudy

megastudy

หาวิชาที่ต้องการค่ะ

ข้อมูลการศึกษา

HOT News บทความที่คุณต้องการทั้งหมด
ทำ TGAT อย่างไรให้ทันเวลา
  • พี่ mega
  • 07.12.2566

ทำ TGAT อย่างไรให้ทันเวลา 





โครงสร้างข้อสอบ TGAT1

ทักษะการพูด (Speaking Skill) (30 ข้อ 50 คะแนน)

  • 1) การถาม–ตอบ (Question-Response)

    • จำนวนข้อคำถาม (10 ข้อ)

    • ระดับข้อสอบ (ง่าย 2 ข้อ / กลาง 6 ข้อ / ยาก 2 ข้อ)

  • 2) เติมบทสนทนาแบบสั้น (Short conversations) จำนวน 3 บทสนทนา

    • จำนวนข้อคำถาม (3 – 4  ข้อ/บทสนทนา รวม 10 ข้อ)

    • ระดับข้อสอบ (ง่าย 2 ข้อ / กลาง 6 ข้อ / ยาก 2 ข้อ)

  • 3) เติมบทสนทนาแบบยาว (Long conversations) จำนวน 2 บทสนทนา

    • จำนวนข้อคำถาม (5 ข้อ/บทสนทนา รวม 10 ข้อ)

    • ระดับข้อสอบ (ง่าย 2 ข้อ / กลาง 6 ข้อ / ยาก 2 ข้อ)

  •  

ทักษะการอ่าน (Reading Skill) (30 ข้อ 50 คะแนน)

  • 1) เติมข้อความในเนื้อเรื่องให้สมบูรณ์ (Text completion) จำนวน 2 บทความ

    • จำนวนข้อคำถาม (7-8 ข้อ/บทความ รวม 15 ข้อ)

    • ระดับข้อสอบ (ง่าย 3 ข้อ / กลาง 9 ข้อ / ยาก 3 ข้อ)

  • 2) อ่านเพื่อจับใจความ (Reading  comprehension) จำนวน 3 บทความ
    หมายเหตุ : บทความทั่วไปที่ใช้ในการสื่อสาร มีจำนวนคำประมาณ 100– 200 คำ 

    • จำนวนข้อคำถาม (5 ข้อ/บทความ รวม 15 ข้อ)

    • ระดับข้อสอบ (ง่าย 3 ข้อ / กลาง 9 ข้อ / ยาก 3 ข้อ)

  •  

ระดับความยากง่ายของข้อสอบทั้งฉบับ

  • ระดับง่าย 20% (12 ข้อ)

  • ระดับปานกลาง 60% (36 ข้อ)

  • ระดับยาก 20% (12 ข้อ)

 

ประเภทข้อสอบ ปรนัย (4 ตัวเลือก)
ระยะเวลาที่ใช้สอบ 60 นาที

 



โครงสร้างข้อสอบ TGAT2

สมรรถนะการคิดอย่างมีเหตุผล (Critical & Logical Thinking) 80 ข้อ

  • 1) ความสามารถทางภาษา
    2) ความสามารถทางตัวเลข
    3) ความสามารถทางมิติสัมพันธ์
    4) ความสามารถทางเหตุผล 

  •  

ประเภทข้อสอบ ปรนัย (5 ตัวเลือก)
ระยะเวลาที่ใช้สอบ 60 นาที

 



โครงสร้างข้อสอบ TGAT3

1) การสร้างคุณค่าและนวัตกรรม (15 ข้อ)

  • 1.1 การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical thinking) ความเข้าใจในการกำหนดวิธีการรวบรวมประเด็น

  • เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น รวมทั้งมีหลักการในการสรุปผลการวิเคราะห์และแยกแยะข้อมูลที่ได้รับออกเป็นปัจจัย

  • ย่อย ๆ เช่น สาเหตุ ผลลัพธ์ ผลกระทบ ข้อเสนอแนะ และผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
    1.2 การแก้ไขปัญหาอย่างมืออาชีพ (Professional problem solving) ความสามารถในการวิเคราะห์

  • ปัญหาหรือเล็งปัญหา พร้อมทั้งลงมือจัดการกับปัญหานั้น ๆ อย่างมี ข้อมูล มีหลักการ และสามารถนำ

  • ความเชี่ยวชาญ หรือแนวคิดในสายวิชาชีพมาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1.3 ความคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative thinking) การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ทางเลือก สินค้า

  • และบริการรูปแบบใหม่ พร้อมทั้งการปรับเปลี่ยน กลยุทธ์ นโยบาย และรูปแบบการดำเนินงานให้เหมาะสม

  • กับสภาพแวดล้อม รวมถึงการพูดจูงใจผู้อื่น นำเสนอความคิดและรูปแบบของสินค้า บริการ และวิธีการ

  • ดำเนินงานรูปแบบใหม่
     

2) การแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน (15 ข้อ)

  • 2.1 การระบุปัญหา (Identifying problems) ประกอบด้วย ทำความเข้าใจบริบทแวดล้อม การระบุและทำ

  • ความเข้าใจปัญหา การมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องในการระบุปัญหา
    2.2 การแสวงหาทางออก (Generating and selecting solutions) ประกอบด้วย การสร้างและหา

  • ทางเลือก และการประเมินทางเลือกที่เหมาะสม
    2.3 การนำทางออกไปแก้ปัญหา (Implementation) ประกอบด้วย การปฏิบัติตามแผน และการปรับ

  • เปลี่ยนตามความเหมาะสม
    2.4 การประเมินทางออกเพื่อการพัฒนาปรับปรุง (Evaluation) ประกอบด้วย เก็บข้อมูลจากการนำ

  • ทางออกไปลองใช้ และสรุปผลจากการนำทางออกไปลองใช้
     

3) การบริหารจัดการอารมณ์ (15 ข้อ)

  • 3.1 ความตระหนักรู้ตนเอง (Self awareness) การรับรู้ ควบคุมสภาพอารมณ์ และทัศนคติ เพื่อรักษา

  • อารมณ์ และประสิทธิภาพของตนเอง แม้ในสถานการณ์ที่ตึงเครียดหรือมีภาระสูง มีความตระหนักถึง

  • จุดแข็งของตนเอง รวมถึงจุดที่ต้องพัฒนา โดยมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
    3.2 การควบคุมอารมณ์และบุคลิกภาพ (Personality and emotional control) ความสามารถใน

  • การแสดงออก ทางสีหน้า ท่าทาง และอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม เมื่อต้องเผชิญกับบุคคล ลักษณะงาน

  • และสถานการณ์ที่ตึงเครียด รวมถึงการให้คำปรึกษา แนะนำและสอนผู้อื่น ให้ควบคุมอารมณ์และ

  • บุคคลิภาพได้อย่างเหมาะสม

  • 3.3 ความเข้าใจผู้อื่น (Interpersonal understanding) ความเข้าใจความต้องการ ความกังวล และ

  • ความรู้สึกของผู้อื่น ทั้งสิ่งที่แสดงออกและไม่แสดงออก และความสามารถในการตอบสนอง และให้

  • ความช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม และเท่าเทียมกัน 

 

4) การเป็นพลเมืองที่มีส่วนร่วมของสังคม (15 ข้อ)

  • 4.1 การมุ่งเน้นการบริการสังคม (Service orientation) การคิด และทำสิ่งต่าง ๆ โดยมีความต้องการ

  • ของสังคมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอยู่ในใจเสมอ โดยมุ่งเน้นการศึกษา และทำความเข้าใจความต้องการ

  • ต่าง ๆ แสดงถึงความมุ่งมั่นต้องการช่วยเหลือผู้อื่นอย่างแท้จริง พร้อมพัฒนาและ รักษาความสัมพันธ์

  • ที่ดีอย่างยั่งยืน

  • 4.2 จิตสำนึกและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental responsibility) การมีจิตสำนึก

  • ตระหนักให้ความสำคัญ มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีความมุ่งมั่นและทุ่มเทที่จะ

  • อนุรักษ์ และรักษาสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชนให้น่าอยู่ ตลอดจนเข้าไปมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน

  • หรือร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสังคม และสิ่งแวดล้อมขององค์กรอย่างเต็มที่ เพื่อเกิดประโยชน์

  • ต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมโดยรวม

  • 4.3 การสร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น (Creating local benefits) ความสามารถในการคิดค้น

  • ออกแบบ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ที่แปลกและแตกต่างไปจากเดิม โดยการมุ่งเน้นพัฒนาและสร้างสรรค์

  • สิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ในระยะยาว และยั่งยืนให้แก่ประชาชน พื้นที่ หรือท้องถิ่นที่รับผิดชอบอย่างเป็นรูปธรรม
     

ประเภทข้อสอบ ปรนัย (4 ตัวเลือก)
เพื่อวัดทัศนคติ 4 ระดับ ทุกคำตอบจะมีคะแนนอยู่ในช่วงระหว่าง 0-1 คะแนน
การตอบคำถาม มี 2 แบบ คือ

1) เลือกตอบตัวเลือกเดียว
2) เลือกตอบหลายตัวเลือก

ระยะเวลาที่ใช้สอบ 60 นาที

 





 

พี่ mega
mentor

พี่ๆคอยให้คำปรึกษาพร้อมแก้ไขปัญหาในทุกเรื่องของการเรียนและสอบให้กับน้อง ๆ

  • #TGAT
  • #dek67
  • #TCAS67
prev 3 คณะเด่น ลาดกระบัง
next 1 คำเราไม่จำแค่ 1 ความหมาย