เรียนพิเศษ ติวสอบ ออนไลน์ กวดวิชาติวเตอร์อันดับ 1 | Megastudy

megastudy

หาวิชาที่ต้องการค่ะ

ข้อมูลการศึกษา

การถ่ายโอนความรู้ บทความที่คุณต้องการทั้งหมด
สรุปเรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับ ระบบสุริยะจักรวาล โลกแห่งดวงดาว
  • 17.03.2566

สรุปเรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับ ระบบสุริยะจักรวาล โลกแห่งดวงดาว



โลกแห่งดวงดาวเป็นอีกโลกลึกลับที่น่าค้นหา และเรื่องราวของระบบสุริยะจักรวาล ก็เป็นอีกหนึ่งหน่วยการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ที่น้อง ๆ จะต้องได้พบเจอตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เรียกได้ว่าเป็นรายวิชาที่ทุกระดับชั้นจะต้องได้พบเจอ แต่ก็ยังมีหลายคนที่ยังเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับระบบสุริยะ ว่าคืออะไร และมีองค์ประกอบอะไรบ้าง 

วันนี้เราจะพาน้อง ๆ มาทำความรู้จักกับเรื่องราวของระบบสุริยะศาสตร์ ที่มีองค์ประกอบของ ดาวเคราะห์  มากมาย เพื่อให้น้อง ๆ ได้เกิดความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น เผื่อว่าน้อง ๆ คนไหนที่มีความสนใจในด้านของดาราศาสตร์ จะมองเห็นแนวทางการต่อยอดสายการเรียนในระดับมหาวิทยาลัย รวมไปถึงการทำงานในอนาคตด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ก็มีนักดาราศาสตร์หลายคนที่มีชื่อเสียงโด่งดัง และเริ่มต้นจากความชอบที่จะศึกษาเรื่องระบบสุริยะศาสตร์นี้เลย เราลองไปดูกันว่าระบบสุริยะจักรวาลคืออะไรกันแน่

 

ระบบสุริยะจักรวาล คืออะไร

เชื่อว่าหลายคนสงสัยว่า ระบบสุริยจักรวาล คืออะไร ระบบสุริยะ เป็นระบบดวงดาวที่มีดวงอาทิตย์เป็นองค์ประกอบหลัก และมีวัตถุอื่นๆ ทำการโคจรอยู่รอบๆดวงอาทิตย์ ซึ่งเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก ประกอบไปด้วย ดาวเคราะห์   และดวงจันทร์ สำหรับการสำรวจเรื่องราวของระบบสุริยะ ได้เคยมีการใช้กล้องโทรทรรศน์ เครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้นักดาราศาสตร์จัดทำแผนภาพท้องฟ้า เพื่อแสดงตำแหน่งต่างๆของวัตถุ ที่ไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งนักดาราศาสตร์ที่หลายคนรู้จักกันเป็นอย่างดีก็คือ กาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นนักวิทยาศาสตร์คู่แรกที่ได้ค้นพบรายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุในระบบสุริยะ ซึ่งค้นพบว่าคนผิวของดวงจันทร์นั้นมีลักษณะขรุขระ และในส่วนของดวงอาทิตย์มีจุดด่างดำกระจายอยู่มากมาย นอกจากนี้ยังค้นพบรายละเอียดอื่นๆบนระบบสุริยะอีกมากมาย 

สำหรับดาวเคราะห์ทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ ได้มีการเรียงลำดับจากความใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด ดังนี้ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ชาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ซึ่งดวงอาทิตย์ถือเป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใจกลางของระบบสุริยะทั้งหมด โดยมีการเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กจากกระบวนการไดนาโม ซึ่งเป็นพลังงานที่สำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลกของเรานั่นเอง

 

ความสำคัญของ ระบบสุริยะจักรวาล 

ถ้าจะถามถึงความสำคัญของการศึกษาเรื่อง  ระบบสุริยะจักรวาล ก็บอกเลยว่าเป็นเรื่องที่มีความสำคัญมาก เนื่องจากพลังงานในรูปแบบของแสงแดด ที่เป็นผลผลิตมาจากดวงอาทิตย์ มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต เพราะสิ่งมีชีวิตจะต้องเติบโตด้วยการสังเคราะห์แสง โดยกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่อาศัยอยู่ในโลกของเราไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม ใช้เพื่อการเจริญเติบโต เกิดจากปรากฏการณ์ทางอุตุนิยมวิทยาและสภาพอากาศบนโลกทั้งนั้น 

และองค์ประกอบต่างๆที่เราเรียกกันว่า ดาวเคราะห์  ก็เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ระบบสุริยะจักรวาลเกิดความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ดังนั้นน้อง ๆ ที่มีความสนใจในเรื่องของระบบจักรวาล สิ่งแรกที่จะต้องทำความเข้าใจก็คือระบบสุริยะจักรวาลนี้เลย ยิ่งถ้าน้อง ๆ ให้ความสำคัญกับดวงดาวต่างๆ รวมไปถึงผลงานวิจัยและการค้นพบของนักดาราศาสตร์ น้อง ๆ ก็จะสามารถเพิ่มเติมทักษะความรู้ของตัวเองได้มากยิ่งขึ้นด้วย

 

5 กลุ่มดวงดาวสำคัญใน ระบบสุริยะจักรวาล  

อย่างที่เราได้รู้กันไปแล้วว่าความหมายของระบบสุริยะจักรวาลคืออะไร เราลองมาทำความรู้จักกับ 5 กลุ่มดวงดาวที่สำคัญ และ ดาวเคราะห์ ที่เป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์กัน ก่อนอื่นเลยเราลองมาทำความรู้จักกับดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็น ดาวฤกษ์ที่อยู่ในตำแหน่งศูนย์กลางของระบบสุริยะจักรวาล และยังเป็นศูนย์กลางของแรงโน้มถ่วง ทำให้เหล่าบรรดาดาวเคราะห์และดวงดาวบริวารทั้งหลาย ใน ระบบสุริยะจักรวาล  ต้องทำการโคจรล้อมรอบดวงอาทิตย์อยู่เสมอ เราไปดูกันว่าดวงดาวเหล่านั้นมีอะไรบ้าง


 

1. ดาวเคราะห์วงใน กลุ่มดาวใน  ระบบสุริยะจักรวาล ซึ่งมีกลุ่มดวงที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก ได้แก่ ดาวพุธและดาวศุกร์ สำหรับดาวเคราะห์นี้บางครั้งอาจถูกเรียกในชื่อ ดาวเคราะห์พื้นแข็ง เนื่องจากมีลักษณะพื้นผิวเป็นลักษณะของแข็งคล้ายกับโลก 

2. ดาวเคราะห์วงนอก ใน ระบบสุริยะจักรวาล ยังคงเป็นกลุ่มดาวที่อยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์มากกว่าโลก ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ซึ่งกลุ่มดาวเหล่านี้สามารถที่จะปรากฏให้เห็นชัดในช่วงตอนกลางคืน

3. ดวงจันทร์บริวาร ใน ระบบสุริยะจักรวาล  คือบริเวณของดาวเคราะห์ทั้งหลาย ประกอบไปด้วย โลก มีบริวารชื่อดวงจันทร์ ในขณะที่ดาวเคราะห์ดวงอื่นก็มีบริวารเช่นเดียวกัน โดยดาวเคราะห์และดวงจันทร์จะถือกำเนิดขึ้นในช่วงเวลาพร้อมๆกัน แต่ไม่ได้รวมตัวกัน ซึ่งดวงจันทร์จะก่อตัวขึ้นภายในวงโคจรของดาวเคราะห์นั้น ๆ 

4. ดาวเคราะห์น้อย ใน ระบบสุริยะจักรวาล เกิดจากวัสดุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากมีแรงรบกวนจากดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ ระดับดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือดาวเคราะห์น้อยซีเรส 

5. ดาวหาง ใน ระบบสุริยะจักรวาล  เป็นวัตถุขนาดเล็ก มีวงโคจรล้อมรอบดวงอาทิตย์เป็นลักษณะของวงรี และมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซในลักษณะสถานะเป็นของแข็งนั่นเอง

 

สำหรับเรื่องราวความรู้ในเรื่องของ ระบบสุริยะจักรวาล ยังมีอีกมากมายให้น้อง ๆ ได้ค้นคว้าและศึกษา หากน้อง ๆ คนไหนที่มีความชื่นชอบและต้องการที่จะ เรียนรู้เรื่องราวของดาราศาสตร์ เพื่อที่จะเพิ่มเติมทักษะความรู้ทางด้านวิชาการ รวมไปถึงต่อยอดความรู้ในระดับมหาวิทยาลัย สามารถที่จะเข้ามาปรึกษากับ megastudy ได้เลย เรามีทีมงานคุณภาพที่มีความรู้ในด้านดาราศาสตร์พร้อมที่จะให้คำแนะนำกับน้อง ๆ  รับรองว่าน้อง ๆ จะต้องได้ประสบการณ์ใหม่ๆจากการเรียนรู้ครั้งนี้อย่างแน่นอน และที่สำคัญน้อง ๆ มีโอกาสที่จะต่อยอดรักษาความรู้ทางด้านการศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระดับมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย ถ้าอยากเข้าเรียนในขณะที่ใช่มหาวิทยาลัยที่ชอบ ก็ต้องรู้จักเตรียมความพร้อมและเหมือนทบทวนเนื้อหาบทเรียนอยู่เสมอ รับประกันเลยว่าน้อง ๆ จะประสบความสำเร็จได้ตามที่ตั้งใจเอาไว้แน่นอน 

 

 

  • #ฟิสิกส์
prev สรุปเรื่องน่ารู้ ฟิสิกส์ ในชีวิตประจำวัน
next ใครอยากพิชิตคะแนนให้เต็ม 100 ต้องรู้ 5 เคล็ดลับการอ่านหนังสือ